สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ศาสนสถานในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลลี้
เทศบาลตำบลลี้ ตั้งอยู่เลขที่ 96 หมู่ที่ 7 ตำบลลี้ อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ห่างจากที่ว่าการอำเภอลี้ ระยะทาง 3 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
|
|
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขต -เขตเทศบาลตำบลวังดินอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน -องค์การบริหารส่วนตำบลป่าไผ่ อ.ลี้ จ.ลำพูน ทิศใต้ ติดต่อกับเขต -เทศบาลตำบลดงดำ อ.ลี้ จ.ลำพูน -องค์การบริหารส่วนตำบลนาทราย อ.ลี้ จ.ลำพูน -องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน อ.ลี้ จ.ลำพูน ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขต -องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านปวง อ.ทุ่งหัวช้าง จ.ลำพูน ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขต -อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ -องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน อ.ลี้ จ.ลำพูน
|
พื้นที่
|
สภาพพื้นที่ในตำบลลี้ มีพื้นที่เป็นเนินเขาลาดเอียงไปทางทิศตะวันออก อยู่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติขุนแม่ลี้ มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 110,312ไร่ จำแนกเป็น พื้นที่ป่าสงวน 71,769ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร 27,578 ไร่ พื้นที่อยู่อาศัย 2,187ไร่ โดยมีพื้นที่ ส.ป.ก. จำนวน 8,778ไร่ พื้นที่ในเขตบริหารงานของเทศบาลตำบลลี้ มีพื้นที่ทั้งหมด 162.417 ตารางกิโลเมตร (ข้อมูลสำนักพัฒนาพื้นที่ปฏิรูปที่ดิน สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์)
|
|
2.2.ภูมิประเทศ
|
ลักษณะภูมิประเทศของเทศบาลตำบลลี้ มีพื้นที่เป็นเนินเขาลาดเอียงไปทางทิศตะวันออก อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่ลี้ มีพื้น ที่ราบสำหรับการเพาะปลูกประมาณ ¼ ของพื้นที่ทั้งหมด ตลอดสองฝั่งของลำน้ำที่ไหลผ่าน ชุมชนแต่ละหมู่บ้านตั้งอยู่เรียงรายสองฝั่งของ ลำน้ำ เช่น แม่น้ำลี้ และแม่น้ำสายเล็ก ๆ ซึ่งเป็นแหล่งน้ำในการทำการเกษตรของประชากร
|
หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่มีเขตติดต่อ/ตำบลที่มีการติดต่อ
|
-เทศบาลตำบล จำนวน 2 แห่ง(เทศบาลตำบลวังดิน,ดงดำ) -องค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 4 แห่ง ดังนี้ 1.องค์การบริหารส่วนตำบลป่าไผ่ 2.องค์การบริหารส่วนตำบลนาทราย 3.องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ลาน 4.องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านปวง
|
|
สภาพทางเศรษฐกิจ
|
3.1 อาชีพ
|
จากการเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานระดับตำบล(จปฐ2) ประจำปี 2558 ประชากรที่ให้ข้อมูลจำนวน 6,901 คน สรุปแยกเป็นอาชีพได้ดังนี้
|
|
อาชีพ
|
จำนวนเพศชาย (คน)
|
จำนวนเพศหญิง (คน)
|
จำนวนรวม (คน)
|
ไม่มีอาชีพ
|
149
|
169
|
318
|
กำลังศึกษา
|
583
|
584
|
1,167
|
ทำนา
|
235
|
203
|
438
|
ทำไร่
|
694
|
542
|
1,236
|
ทำสวน
|
581
|
473
|
1,054
|
ประมง
|
10
|
3
|
13
|
ปศุสัตว์
|
3
|
1
|
4
|
รับราชการ
|
107
|
133
|
240
|
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
|
6
|
16
|
22
|
พนักงานบริษัท
|
40
|
30
|
70
|
รับจ้างทั่วไป
|
1,096
|
925
|
2,021
|
ค้าขาย
|
73
|
139
|
212
|
ธุรกิจส่วนตัว
|
36
|
18
|
54
|
อื่นๆ หรือไม่ระบุ
|
24
|
28
|
52
|
รวมทั้งหมด
|
3,637
|
3,264
|
6,901
|
|
|
3.2.รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี เรียงลำดับของหมู่บ้านที่ราษฎรมีรายได้จากมากไปหาน้อย (ข้อมูลการจัดเก็บจปฐ.ประจำปี 2558)
|
|
ลำดับ
|
หมู่บ้าน
|
รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท)
|
1
|
หมู่ที่ 7 บ้านป่าหก
|
126,385
|
2
|
หมู่ที่ 2 บ้านนากลาง
|
86,117
|
3
|
หมู่ที่ 12 บ้านใหม่ศิวิไล
|
66,346
|
4
|
หมู่ที่ 13 บ้านแพะหนองห้า
|
64,402
|
5
|
หมู่ที่ 3 บ้านปู
|
63,569
|
6
|
หมู่ที่ 1 บ้านแวนนาริน
|
63,181
|
7
|
หมู่ที่ 8 บ้านม่วงสามปี
|
59,396
|
8
|
หมู่ที่ 10 บ้านกลาง
|
57,287
|
9
|
หมู่ที่ 9 บ้านปวงคำ
|
56,193
|
10
|
หมู่ที่ 5 บ้านฮ่อมต้อ
|
47,468
|
11
|
หมู่ที่ 11 บ้านโฮ่ง
|
45,156
|
12
|
หมู่ที่ 16 บ้านใหม่น้ำผึ้ง
|
43,454
|
13
|
หมู่ที่ 17 บ้านผายอง
|
35,207
|
เฉลี่ยรายได้ต่อคนต่อปีทั้งตำบล
|
61,020
|
|
|
3.3. หน่วยธุรกิจในเขตพื้นที่
|
-ปั๊มน้ำมัน(ปั๊มหลอด) จำนวน 11 แห่ง -ร้านจำหน่ายก๊าซ จำนวน 3 แห่ง -โรงสี จำนวน 24 แห่ง -ร้านค้า จำนวน 76 แห่ง -โรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 6 แห่ง
|
|
|
สภาพสังคม
|
การศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 5 แห่ง
ลำดับที่
|
โรงเรียน
|
จำนวนนักเรียน
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
1.
|
บ้านนากลาง หมู่ที่ 2
|
55
|
65
|
120
|
2.
|
บ้านฮ่อมต้อ หมู่ที่ 5
|
86
|
96
|
182
|
3.
|
บ้านม่วงสามปี หมู่ที่ 8
|
237
|
249
|
486
|
4.
|
บ้านปวงคำ (ประชาอุทิศ) หมู่ที่ 9
|
100
|
<span style="font-size: 16.0pt; font-family: 'Angsana New',serif; mso-f
|
|